เด็กๆอ่าน เนื้อเรื่องจากYoutube และทบทวน
เนื้อหาด้านล่างนะคะ
คำกริยา
คำกริยา มีความหมายว่า กระทำ มีอาการ อยู่ในสภาพ
เป็นการแสดงของประธานในประโยค
โครงสร้างของประโยคทั่วไป
ภาคประธาน - ภาคแสดง
ประธาน - กริยา -/กรรม
ตัวอย่าง น้องกินข้าว
น้อง - ประธาน
กิน - กริยา
ข้าว - กรรม
คำกริยาแสดงอาการแบ่งเป็น 4 ชนิด
1. อกรรมกริยา กริยาที่ไม่ต้องการกรรมมารับ เช่น นอน เดิน วิ่ง
ตัวอย่าง ฉันเดิน สมศรีวิ่ง
ไม่มีกรรมความหมายในประโยคก็ชัดเจน
2. สกรรมกริยา กริยาที่ต้องการกรรมมารับ เช่น ทุบ กิน เตะ
ตัวอย่าง ฉันกิน.......ไม่รู้ว่ากินอะไร
ต้องบอกว่า ฉันกินข้าว ต้องมี “ข้าว” ประโยคจึงสมบูรณ์
3. วิกตรรถกริยา กริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ต้องมี
คำนาม คำสรรพนาม หรือคำวิเศษณ์มาขยายจึงจะได้ความ
ตัวอย่าง ฉันแบกของหนัก กลุ่มคำทำหน้าที่อย่าง นาม
ฉันเห็นเขาทั้งหลาย กลุ่มคำทำหน้าที่อย่าง สรรพนาม
ฉันไปเดินเล่น กลุ่มคำทำหน้าที่อย่าง กริยา
ฉันตื่นสายมาก กลุ่มคำทำหน้าที่อย่าง วิเศษณ์
ฉันอยู่ในห้อง กลุ่มคำทำหน้าที่อย่าง บุพบท
ฉันตื่นสายมาก กลุ่มคำทำหน้าที่อย่าง วิเศษณ์
ฉันอยู่ในห้อง กลุ่มคำทำหน้าที่อย่าง บุพบท
ฉันอยู่ในห้อง กลุ่มคำทำหน้าที่อย่าง บุพบท
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น